เด็ก 1-3 ปี
พัฒนาการเด็กเป็นสิ่งที่พ่อแม่ควรให้ความสำคัญอย่างยิ่งในวัย เด็ก 1-3 ปี เด็กจะ พูดจาโต้ตอบได้ดี เคลื่อนไหวของร่างกายได้มากขึ้น ทำตามคำสั่งง่าย ๆ ได้
นักร้องเสียงใสประจำบ้าน
การร้องเพลงแบบ หลงคีย์ ถือเป็นเรื่องปกติของเด็กวัย 2 ขวบ
เทคนิคชวนลูกอาบน้ำ ชนิดไม่มีปฎิเสธ
น้องโมไม่ชอบอาบน้ำเลยค่ะ ลงอ่างทีไร ร้องไห้โยเยทุกที จะแก้ไขอย่างไรดีคะ
เมื่อลูกฮา พาแม่เครียด
ทำไมหนอลูกเราถึงชอบเล่นตลก ทำท่าแปลกๆ บ๊องๆ อยู่เรื่อย ใหม่ๆ ก็น่ารักน่าชัง เรียกเสียงหัวเราะได้ดี แต่หลังๆ ชักน่ารำคาญจนคนอื่นไม่ค่อยสนุกด้วยแล้ว
ลูกคึกเกินเหตุ
ถ้าลูกคึกจนคุมสติไม่อยู่ทุกครั้งที่เขาอยู่ในสถานที่หรือสถานการณ์ที่มีสิ่งเร้ารอบตัว เช่น ในห้างหรืองานปาร์ตี้ คุณจะช่วยให้เขาสงบลงได้อย่างไร
3 บทบัญญัติสกัดคิวบู๊จูเนียร์
1. รู้ทันตัวกระตุ้น “หิว” “เบื่อ” “รำคาญ” “เหนื่อย” อาจทำเจ้าตัวเล็กเลือกบทบู๊ ฉะนั้นเมื่อเห็นท่าไม่ดี รีบดึงลูกออกมาให้พ้นสถานการณ์ดังว่า การช็อปปิ้งกับวัยนี้ไม่เกิน 30 นาทีจะดีที่สุด 2. เอาน้ำเย็นเข้าลูบ คว้าหมัดกลมๆ นั้นให้ทันzแล้วพูดนิ่งๆ แต่จริงจังว่า ไม่ ให้ลูกรู้ว่าโกรธน่ะได้ แต่ใช้หมัดคงไม่ได้ เมื่อโกรธให้พูด หนูโกรธแล้วนะ! แทน 3. ทำเป็นตัวอย่าง ถ้าคุณโวยกับเรื่องเล็กๆ (เช่น สามีทิ้งเสื้อไว้ที่พื้น) ลูกก็เรียนรู้ที่จะวีนกับเรื่องเล็กๆ เช่นกัน และหากมันเกิดในที่สาธารณะ อย่าเต้นตอบเป็นเด็กๆ ทีเดียวเชียว บทความและภาพโดย: กองบรรณาธิการนิตยสารเรียลพาเรนติ้ง
หนูรู้ นี่หู ตา จาหมูก ปาก…
คุณแม่น้องคิตตี้ วัย 1 ขวบ ถามลูกว่าไหนตาของหนู
เทคนิคเอาใจวัย 1-3
เมื่อต้องป้อนข้าววัยเบบี๋ เคยสังเกตบ้างไหมว่า พอถึงเวลาที่น้องเล็กวัยเบบี๋ต้องกินข้าว พี่ใหญ่วัยเตาะแตะก็เริ่มต้องการตัวคุณแม่ขึ้นมาทันที
คิดให้ดี คำสั่งแม่นี่คลุมเครือรึเปล่า?
ไม่ว่าแม่จะสั่งให้เก็บของเล่นที่กองอยู่เต็มบ้านหรือแต่งตัวออกไปเที่ยวนอกบ้านกัน หนูน้อยก็ไม่ทำตามที่แม่สั่งเลยสักอย่าง แล้วอย่างนี้จะยอมให้ความร่วมมือกับคุณครูตอนต้องไปโรงเรียนหรือเปล่าเนี่ย
ฝึกมารยาท วัย 1-3 ปี
เทคนิคเล็กๆ ได้ผลชะงัด ไว้จัดการเวลาลูกทำพฤติกรรมแย่ๆ
หงุดหงิดทีไร บอก ” เกลียด ” แม่ทุกที
จะมีอะไรน่าเศร้าไปกว่าตอนที่แก้วตายาใจของคุณตะโกนลั่นทั้งน้ำตาว่า หนูเกลียดแม่ ! อีกไหมนะ
บ๊ายบายจุกนมหลอก
เคล็ดลับดีๆ ที่คุณแม่พิสูจน์มาแล้วว่าช่วยให้ลูกวัยเตาะแตะยอมเลิกติดจุกนมหลอกได้โดยสันติ !
สอนลูกให้พูด “ความจริง “
ช่วง 1-3 ขวบเป็นช่วงที่ความจริงและความเท็จคาบเกี่ยวกันแบบแยกไม่ออก ทั้งนี้เพราะหนูๆ ทั้งหลายยังไม่เข้าใจคอนเซ็ปต์ของ ความซื่อสัตย์ และยังไม่รู้ว่า การโกหก เป็นเรื่องไม่ดี
ทำไมลูกเตาะแตะชอบพูดตาม?
เสียงสะท้อนที่ตามมาหลังจากทุกประโยคที่คุณพูดไม่ได้เกิดจากการอดนอนอย่างที่คิด แต่เป็นเสียงสะท้อนจากลูกวัยเตาะแตะของคุณเอง
ป่วนทุกที เวลาที่แม่ติดสาย
อาจเหมือนเรื่องเล็ก แต่ก็เป็นประเด็นคลาสสิก ที่คุณแม่หลายคนอยากหาทางแก้แบบละมุนละม่อม คุณแม่จูเล่าว่าน้องแจ็ค ลูกชายวัย 1 ขวบ 8 เดือน จะเกิดอาการหวีดวีน ทุรนทุรายทุกทีเวลาที่แม่มีโทรศัพท์เข้า ดูเหมือนเขาต้องการความสนใจมากเป็นพิเศษในจังหวะนั้น วัยเตาะแตะ “ไม่ปลื้ม” กับอะไรก็ตามที่มาแย่งความสนใจของคุณไป ไม่ว่าจะเป็นกระดาษบนโต๊ะที่แม่กำลังจดรายการกับข้าว อาหารในครัวที่แม่ต้องปรุงให้เสร็จ และแน่นอน เจ้าโทรศัพท์ที่ดังแบบไม่มีปี่มีขลุ่ย เด็กวัยนี้ทำตัวไม่ถูก รู้สึกเคว้ง เมื่อพ่อแม่ละความสนใจจากเขาไปคุยกับวัตถุชิ้นเล็กอย่างกะทันหัน และปฏิกิริยาเดียวที่เขาพอจะนึกออกคือ “กรี๊ด” เพื่อเรียกความสนใจคืนมา และพ่อแม่ส่วนใหญ่ยอมจำนนต่อมือน้อยๆ ที่ทึ้งอยู่ตรงหัวเข่า ยอมวางสายทั้งนั้น ทั้งนี้อาการเอาชนะโทรศัพท์ขึ้นอยู่กับพื้นอารมณ์ของเด็กและวิธีรับมือของคุณด้วย คาถาให้การคุยราบรื่นคงไม่มี แต่เรามีเทคนิคให้ลูกยอมสงบชั่วครู่มาแนะนำ ทำเป็นตื่นเต้น แทนที่จะกำชับว่า “เดี๋ยวตอนแม่คุยโทรศัพท์ลูกห้ามกวนเข้าใจไหม” เพราะแน่นอนว่ามันไม่ได้ผลหรอก เมื่อโทรศัพท์ดัง รีบรุดไปที่โทรศัพท์อย่างตื่นเต้น “อุ๊ย! ใครโทร.มาน้า”เพื่อให้รู้ว่าโทรศัพท์ไม่ใช่ศัตรู แต่เป็นเพื่อนที่น่าตื่นเต้นต่างหาก อย่าระเบิดอารมณ์กลับ ข้อนี้คือกฎเหล็กในการตอบสนองวัยเตาะแตะอยู่แล้ว ความต้องการคุณแบบปุบปับนี้ แม้คุณเองจะรู้สึกว่ามันดูไม่สมเหตุสมผลเท่าไร แต่หากยิ่งต่อต้านหรือเล่นไม้แข็งอาการวีนมีแต่จะลุกลามเท่านั้น สัมผัส ลูบหลัง กอดเขาไว้ อุ้มมานั่งตัก และเล่นกระเด้งดึ๋งๆ ช่วยลดอาการ “อิจฉาโทรศัพท์” […]
ไหนพูด ” ขอ ” กับแม่ ดีๆสิ
ตอนแรกๆ ที่ลูกวัยเตาะแตะยื่นถ้วยนมให้ พร้อมพูดห้วนๆ ว่า นม ! คุณอาจรู้สึกว่าลูกเก่ง เพราะรู้จักบอกเวลาอยากจะได้อะไรสักอย่าง
การสอนลูก ทำได้ทุกที่ ทุกเวลา
ให้หนูเป็นเด็กดี ดูเหมือนว่าเจ้าตัวน้อยในวัยนี้จะสนอกสนใจกับสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่หรือคนอื่นๆ รอบตัวทำให้หรือปฏิบัติต่อพวกเขาเป็นพิเศษ
เมื่อลูกเจ็บ แม่อย่าเจ็บตามลูก
ลูกตั้งแต่วัยราว 1 ขวบขึ้นไปจะเรียนรู้จากท่าทีของคุณ ว่าเขาควรแสดงปฏิกิริยาอย่างไรต่อสถานการณ์ต่างๆ สิ่งที่สำคัญมากคือสีหน้าของคุณพ่อคุณแม่!
แบบไหนเข้าข่าย ลูกพูดช้า
คุณแม่ของน้องพัฟ เด็กชายวัย 1 ขวบ 8 เดือน สงสัยว่าเหตุใดลูกจึงทำสิ่งที่ยากขึ้นได้มากมาย