ลักษณะทารกคลอดก่อนกำหนด การดูแลและวิธีส่งเสริมพัฒนาการลูก

จากวันที่คลอดออกมา ด้วยน้ำหนักเพียง 1.5 ปอนด์ พ่อแม่ของ Logan Ray ต้องอาศัยพลังใจในการต่อสู้เคียงข้างกับลูกน้อย ท่ามกลางคนรอบกายที่บอกเสมอว่า อย่าไปคาดหวังให้มากนัก และให้คิดอย่างเลวร้ายที่สุดเสียก่อน จะได้ไม่เสียใจ

7 วิธีดูแลตัวเองไม่ให้ “คลอดก่อนกำหนด” ในท้องสอง

การคลอดก่อนกำหนด เกิดขึ้นได้กับคุณแม่ตั้งครรภ์ทุกคนค่ะ คุณแม่บางคนมีประสบการณ์การคลอดก่อนกำหนดทั้งท้อง แรก และท้องสอง หรือตั้งครรภ์แรกไม่มีปัญหาคลอดก่อนกำหนด แต่ท้องสองมีปัญหาคลอดก่อนกำหนด อยากรู้ไหมคะว่าสาเหตุมาจากอะไร และคุณแม่ท้องจะรับมือได้อย่างไร ทีมแม่ABK มีคำแนะนำให้ค่ะ

ท้องแข็ง เป็นอย่างไร? ท้องแข็งบ่อยเสี่ยงคลอดก่อนกำหนดไหม?

ท้องแข็ง หนึ่งในอาการที่แม่ท้องแก่ใกล้คลอดต้องเจอ ทำให้แม่ท้องที่มีอาการท้องแข็งเร็วเกิดความกังวลว่าอาจจะทำให้คลอดก่อนกำหนดได้

NICU คือ? ทำอย่างไรเมื่อลูกอยู่ NICU เพราะคลอดก่อนกำหนด

NICU คือ อะไร? จะต้องทำอย่างไรเมื่อลูกต้องเข้า NICU? ข้อมูสสำหรับคุณแม่ที่มีความเสี่ยงที่จะต้องคลอดก่อนกำหนดเพื่อเตรียมรับมือกับสถานการณ์นี้

ตะกอนในน้ำคร่ำ ภาวะอันตราย ที่แม่ท้อง ต้องรู้

ตะกอนในน้ำคร่ำ ถือเป็น ภาวะอันตราย อีกหนึ่งภาวะที่ยังไม่ค่อยเป็นที่รู้จักมากนัก

รก เกาะต่ำ ภาวะเสี่ยงเกือบทำให้เสียลูกรัก

คุณแม่หลายคนที่กำลังพบเจอกับความเสี่ยงที่ไม่คาดคิด ดังตัวอย่างของ พ่อตู่ ภพธร และแม่นุช ที่เกือบจะสูญเสียลูกน้อย เมื่อพบว่ามีภาวะ รก เกาะต่ำ

พบกับทารก คลอดก่อนกำหนด น้ำหนัก 400 ก. ต่อสู้ชีวิตจนรอด

ถึงแม้ว่าจะ คลอดก่อนกำหนด ด้วยน้ำหนักตัวเพียงน้อยนิด แต่เด็กคนนี้ก็สามารถต่อสู้ชะตาจนมีชีวิตรอด!

ปากมดลูกหลวม เสี่ยงแท้ง คลอดก่อนกำหนด

ปากมดลูกหลวม เสี่ยงแท้ง คลอดก่อนกำหนด หลายครั้งที่มีคุณแม่ท้องมาพบแพทย์ด้วยอาการแท้ง ที่ไม่มีอาการปวดท้อง หรือเลือดออกมากนัก ปัญหานี้พบได้หากคุณแม่ท้องมีปากมดลูกหลวม ดังนั้นเราจึงมาไขความรู้เรื่อง ปากมดลูกหลวมเสี่ยงแท้ง คลอดก่อนกำหนดมาให้คุณแม่ได้รู้จักกันค่ะ

รู้ก่อนท้อง! เป็นโรคไต มีลูกได้ไหม ?

หากเป็น โรคไต ไม่ควร เสี่ยง ตั้งครรภ์ หมายถึง โรคที่ทำให้การทำงานของไตเสื่อม หรือ ถึงขั้นไตวาย เราจะรู้ว่าเป็นโรคนี้ก็ต่อเมื่อ ตรวจร่างกาย ตรวจปัสสาวะ และตรวจเลือด จึงจะพบ ซึ่งโรคไตส่งผลร้ายอะไรต่อการตั้งครรภ์บ้าง มาดูกัน

ลูกน้อยคลอดก่อนกำหนด เพราะมีน้ำคร่ำมากไป

จากประสบการณ์ของคุณแม่ที่โพสต์เอาไว้ เมื่อลูกน้อย คลอดก่อนกำหนดเพราะน้ำคร่ำเยอะ คุณแม่ขอกำลังใจจากแม่ๆ เพื่อช่วยให้ลูกน้อยปลอดภัย ลูกน้อยของคุณแม่คลอดเมื่อคุณแม่ท้องได้ 25 สัปดาห์ 5 วันเท่านั้น (ประมาณ 6 เดือน) ด้วยน้ำหนัก 920 กรัม เมื่อวันที่ 10 มีนาคมที่ผ่านมา

แชร์ประสบการณ์จากแม่ คลอดลูกก่อนกำหนด เพราะสายรกพันกัน

แชร์ประสบการณ์จากแม่ คลอดลูกก่อนกำหนด การตั้งครรภ์ที่สมบูรณ์ครบ 9 เดือน ที่ไม่มีปัญหาแทรกซ้อนระหว่างตั้งครรภ์เป็นเรื่องที่แม่ท้องต่างก็ปราถนา เราได้รับเรื่องจากคุณแม่ท่านหนึ่งที่ต้องคลอดลูกก่อนกำหนด ตอนอายุครรภ์ได้เพียง 7 เดือน ซึ่งสาเหตุมาจาก “สายรักพันกัน” ทีมงาน Amarin Baby & Kids มีสาเหตุจากการตั้งครรภ์คครั้งนี้มาให้คุณแม่ท้องได้เฝ้าระวังกันค่ะ

แม่ตั้งครรภ์ เป็นโรคหัวใจ อันตรายกว่าที่คิด

แม่ตั้งครรภ์ เป็นโรคหัวใจ อันตรายกว่าที่คิด เพราะการตั้งครรภ์มีผลต่อหัวใจ ทำให้หัวใจทำงานหนักมากขึ้น มีการเพิ่มของเม็ดเลือดแดง และน้ำเหลือง ทำให้หัวใจสูบฉีดเลือดมากขึ้น

โภชนาการก่อนตั้งครรภ์ ลดความเสี่ยง คลอดก่อนกำหนด

โภชนาการดี ก่อนตั้งครรภ์ ลดความเสี่ยง คลอดก่อนกำหนด You are what you eat !! ยังคงเป็นข้อความที่ถูกต้องและแท้จริงเสมอสำหรับสุขภาพของคนเราตลอดกาล

คลอดก่อนกำหนด อันตราย กว่าที่คิด!!!

คลอดก่อนกำหนด อันตราย กว่าที่คิด ในช่วงวันที่ 17 พฤศจิกายนของทุกปี องค์การอนามัยโลกกำหนดให้เป็นวันเด็กคลอดก่อนกำหนดโลก เนื่องจากเป็นปัญหาหลักของทั่วโลก

ประสบการณ์จริงจากแม่ : คลอดก่อนกำหนด เพราะลูกเหนื่อย จนเกือบเสียชีวิตในท้อง

คลอดก่อนกำหนด เชื่อว่าคุณแม่ท้องทุกคนคงไม่อยากให้เกิดขึ้นกับตัวเอง เพราะถ้าเลือกได้คงอยากจะคลอดให้ตรงตามกำหนด ทีมงาน Amarin Baby & Kids ได้รับอนุญาตจากคุณแม่ท่านหนึ่งที่เธออยากจะแชร์ประสบการณ์เหตุที่ต้องคลอดก่อนกำหนด โดยที่ยังเหลืออีกหลายสัปดาห์กว่าจะถึงกำหนดคลอด ซึ่งสาเหตุการคลอดครั้งนี้เกือบทำให้เธอต้องสูญเสียลูกไปตลอดกาล

ลูกไม่มีผนังหน้าท้อง กับความพิการแต่กำเนิด

มีคุณแม่คนหนึ่งโพสต์ภาพลูกน้อยที่มีความผิดปกติ ไม่มีผนังหน้าท้อง ลำไส้บวม เนื่องจากคลอดก่อนกำหนด หัวอกคนเป็นแม่ก็สงสารลูก และสงสัยว่าลูกน้อยจะกลับมาแข็งแรงได้เหมือนเดิมหรือไม่ อาการ “เด็กไม่มีผนังหน้าท้อง” นี้ เป็นความพิการแต่กำเนิด เป็นภาวะฉุกเฉินที่พบบ่อย

คลอดก่อนกำหนด เรื่องที่แม่ท้องต้องรู้สาเหตุและวิธีป้องกัน

ปัจจุบันมีการเจ็บครรภ์ คลอดก่อนกำหนด เกิดขึ้นอยู่บ่อย ๆ ซึ่งเป็นปัญหาสำคัญทางสูติศาสตร์ก่อให้เกิดภาวะทุพพลภาพและการตายของทารกได้ถึงร้อยละ 75

ลูกดูดนมแม่ไม่ได้ ปัญหาใหญ่ของทารกป่วย/คลอดก่อนกำหนด

สำหรับทารกที่ป่วย และคลอดก่อนกำหนด จะไม่แข็งแรงและมีแรงมากพอในการดูดนมแม่จากเต้า ทำให้ ลูกดูดนมแม่ไม่ได้ ยิ่งมีความจำเป็นอย่างมากในการได้รับน้ำนมที่เพียงพอ ดังนั้นการบีบนม จึงเป็นวิธีที่จำเป็นที่จะทำให้ลูกน้อยได้รับน้ำนมที่เพียงพอ

keyboard_arrow_up