ทารกนอนคว่ำ

ทารกนอนคว่ำ เสี่ยงหลับไม่ตื่น ไหลตายไม่รู้ตัว

Alternative Textaccount_circle
event
ทารกนอนคว่ำ
ทารกนอนคว่ำ
ที่นอนทารก
ที่นอนทารก เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดความเสี่ยงโรค SIDS

2.ที่นอน

ที่นอน และอุปกรณ์บนที่นอนก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เกิดความเสี่ยง เบาะสำหรับเด็กต้องเป็นเบาะที่มีความแข็งกำลังดี ฟูก หมอน ต้องไม่หนานุ่มและมีขนาดใหญ่ เพราะอาจทำให้เสียชีวิตได้ บนที่นอนต้องไม่มีเส้นสายยาวเกิน 15 เซนติเมตร เพราะอาจรัดคอลูกได้ เพราะเคยมีเหตุการณ์น่าเศร้ามาแล้ว เมื่อศีรษะลูกมุดรอดหูรูดหมอนข้าง รัดคอจนเสียชีวิต และไม่นำของเล่นชิ้นเล็กๆ ตุ๊กตาขนาดใหญ่ มาวางใกล้ๆ ลูก

  • เตียงผู้ใหญ่ การให้ลูกน้อยวัยทารกนอนกับคุณพ่อ คุณแม่บนเตียงเดียวกันอันตราย เพราะเคยมีเหตุการณ์นอนทับลูกเสียชีวิตมาแล้ว หรือบางครั้งลูกน้อยอาจตกเตียงเพราะเตียงสูงเกินไปจนเสียชีวิต เด็กอายุไม่เกิน 2 ขวบจึงไม่ควรนอนบนเตียงผู้ใหญ่ ควรนอนเบาะ หรือที่นอนสำหรับเด็ก
การจัดที่นอนให้ทารก
การจัดที่นอนให้ทารก

3. เตียงเด็กเล็ก และเตียง 2 ชั้น

  • เตียงเด็กเล็ก เด็กอายุน้อยกว่า 2 ขวบควรนอนที่นอนสำหรับเด็ก มีมาตรฐานปลอดภัย เพื่อป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับเตียงที่ไม่ได้มาตรฐาน ซึ่งพบเด็กเสียชีวิตปีละ 150-200 คน เพราะศีรษะไปติดค้างที่ซี่ขอบเตียง ในท่าลักษณะแขวนคอ เตียงที่ได้มาตรฐานต้องมีซี่ราวไม่เกิน 6 เซนติเมตร
  • เตียง 2 ชั้น เป็นอันตราย ถ้าเด็กขึ้นไปเล่นข้างบน กระโดดโลดเต้นและตกลงมา ซึ่งพบเด็กเล็กเสียชีวิตจากเหตุการณ์ดังกล่าวแล้ว จึงไม่เหมาะกับเด็กที่อายุน้อยกว่า 6 ขวบ ความกว้างของราวกันตกจะต้องสูงมากกว่า 9 เซนติเมตร ควรเลือกเตียงที่ได้มาตรฐาน ผ่านการรับรองผลิตภัณฑ์
เตียงนอนทารก
เตียงนอนทารก ควรมีมาตรฐานปลอดภัย

อ่านต่อบทความอื่นน่าสนใจ คลิก!


เครดิต: thelittlegymrama3.com, sidsandkids, bloggang.com, ความรู้เรื่องอาหารและสุขภาพ, หมอชาวบ้าน

Save

Save

Save

Save

Save

Save

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up