โรคเด็กมีหาง

โรคเด็กมีหาง สไปนา ไบฟิดา (spina bifida)

Alternative Textaccount_circle
event
โรคเด็กมีหาง
โรคเด็กมีหาง

จากเหตุการณ์จริง! ที่ประเทศจีน หนูน้อยวัย 5 เดือน เกิดมาพร้อมกับโรคสไปนา ไบฟิดา มีความบกพร่องทางกระดูกสันหลังที่หายาก คุณแม่ขอร้องให้คุณหมอผ่าตัดนำหางที่งอกออกมาด้วยความหวังว่าลูกจะหายดี แต่คุณหมอไม่สามารถผ่าตัดรักษา โรคเด็กมีหาง ให้ได้ เพราะจะสร้างความเสียหายกับระบบประสาท และทำให้เป็นอัมพาตได้

โรคเด็กมีหาง

โรคเด็กมีหาง
โรค spina bifida ภาวะความบกพร่องทางกระดูกสันหลังที่หายาก

banner300x250หนูน้อยวัย 5 เดือน เติบโตมาพร้อมกับหางที่ก้นยาว 5 นิ้ว เพราะเกิดจากโรคสไปนา ไบฟิดา คุณแม่สังเกตเห็นความผิดปกติของหางที่เติบโตมาพร้อมกับลูกน้อย ซึ่งเป็นโรคที่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอน แต่มีปัจจัยเสี่ยงเกิดจากการขาดกรดโฟลิคตั้งแต่เริ่มตั้งครรภ์ พบในคุณแม่ตั้งครรภ์ 1 ใน 1,000 คนในประเทศอังกฤษ

โรคเด็กมีหาง
โรค spina bifida ภาวะความบกพร่องทางกระดูกสันหลังที่หายาก

โรคสไปนา ไบฟิดาคืออะไร?

Spina Bifida เป็นความบกพร่องของกระดูกสันหลัง มีถุงยื่นผ่านจากกระดูกไขสันหลังออกมาตามตำแหน่งที่บกพร่องนั้น เกิดจากความผิดปกติในรูปทรงของกระดูกสันหลัง ซึ่งจะเป็นอันตรายไปถึงไขสันหลัง ส่วนมากจะเป็นที่กระดูกสันหลังตอนล่างประมาณ 3 ข้อกระดูกสันหลัง เด็กที่เป็นโรคนี้มักจะมีความพิการโดยกำเนิดอย่างอื่นด้วย เช่น เท้าแป มีน้ำในโพรงสมองเป็นต้น

อ่านต่อ “โรคสไปนา ไบฟิดา อาการ การรักษา และป้องกัน” คลิกหน้า 2

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up