วัย 2.5 เดือน เข้าใจวัตถุเคลื่อนที่ & อยู่กับที่


ความเข้าใจว่าวัตถุที่เคลื่อนที่อาจกระแทกหรือชนวัตถุที่อยู่กับที่จนขยับหรือล้มได้ คือข้อพิสูจน์ว่าสมองของลูกน้อยทำงานไปอีกขั้น และยังทำให้ลูกน้อยรู้จักการเล่นที่สนุกยิ่งขึ้น

ลูก “ร้อน” แบบนี้ไม่ดีแน่

ปีนี้อากาศร้อนมาเร็วกว่าทุกที เด็กๆทนร้อนได้น้อยกว่าผู้ใหญ่อยู่แล้ว แต่ “ร้อน”ระดับไหนถึงจะเป็นอันตรายกับลูก

ทารก ขอแค่นมแม่ ไม่ต้องให้ดื่มน้ำ

ลูกสาวเพิ่งอายุครบเดือนได้ไม่นาน และให้ลูกกินนมแม่แต่ดิฉันกังวลนิดหน่อยว่าลูกจะได้น้ำพอหรือเปล่า จะให้ลูกดื่มน้ำสะอาดเพิ่มเติมดีหรือไม่คะ

ชวนเบบี๋มาบริหารขากัน

ส่วนใหญ่วิธีบริหารขาที่ถูกใจเบบี๋มักจะเป็นตอนที่ได้กระโดดโยกตัวขึ้นๆ ลงๆ

ลูกทารกอยากคุยกับแม่


วันหนึ่งๆ ของคุณแม่ที่มีลูกทารกมักหมดไปกับการพูดคุยกับลูก

โยกเยกเอยลูกชอบโยกตัวไปมาบ่อยๆ อยากรู้ว่าเขาเป็นอะไร


เวลาเด็กวัยเตาะแตะโยกตัวไปมา ส่วนมากเป็นสัญญาณบอกว่าเขากำลังรู้สึกกังวล ง่วง

วัย 5 เดือนเริ่ม คาดเดา “ทิศทางการเคลื่อนที่”

นอกจากจะเริ่มสังเกต ทิศทางการเคลื่อนที่ของสิ่งรอบตัวแล้ว เด็กน้อยตัวกะเปี๊ยกวัย 20-21 สัปดาห์ (5 เดือน) ยังรู้จักเชื่อมโยงภาพการเคลื่อนไหวที่เห็นกับเสียงที่ได้ยินด้วย

เบบี๋ไม่อยากให้อุ้ม (แล้วนะแม่)

ลูกวัยนี้พยายามใช้ร่างกายทำอะไรๆ เองมากขึ้นด้วย และคุณจะรู้สึกได้ว่า บางครั้งลูกจะหงุดหงิดที่คุณช่วยทำให้ แต่แน่นอนว่า ลูกน้อยก็ยังต้องการให้คุณใส่ใจอยู่ดี ดังนั้นคุณไม่ควรรีบตอบสนองทุกครั้งที่เขาร้องหา

[Blogger พ่อเอก-03] เก้าสิบวันพันรอยยิ้ม


อารมณ์ทุกอย่างมันถูกส่งผ่านเส้นเลือด ดังนั้นจังหวะการหายใจ เสียงที่รุนแรง การเคลื่อนตัวที่ก้าวร้าว เจ้าปูนปั้นจะต้องสัมผัสได้แน่ๆ

keyboard_arrow_up