พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ

มาเข้าใจ พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ (วัยเตาะแตะ)

Alternative Textaccount_circle
event
พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ
พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ

พัฒนาการเด็ก 1–3 ขวบ หรือเรียกว่า วัยเตาะแตะ (Toddler development) วัยนี้เป็นวัยที่มีพัฒนาการเปลี่ยนแปลงอย่างมาก ที่เห็นได้ชัด คือ เรื่องภาษาและการมีปฏิสัมพันธ์กับคนอื่น แต่ด้านอื่นๆ ก็มีการพัฒนาเช่นกัน ได้แก่ กล้ามเนื้อ ร่างกาย อารมณ์ สติปัญญา ดังตาราง

  18 เดือน 24 เดือน 36 เดือน
พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ  ด้านอารมณ์ พื้นอารมณ์
ความผูกพัน
เป็นตัวของตัวเอง/ความเป็นอิสระ
ความหุนหันพลันแล่น
พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ ด้านสติปัญญา ความฉลาดด้านระบบประสาท-กล้ามเนื้อ           /         การคิดเป็นรูปธรรมง่ายๆ
พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ ด้านร่างกาย พัฒนาการเคลื่อนไหว
อัตราการเจริญเติบโต

พัฒนาการเด็ก 1-3 ขวบ ด้านอารมณ์

“ฉันเป็นฉันเอง”(Autonomy/ independence)

เนื่องจากเด็กสามารถไปไหนมาไหนได้เองมากขึ้น ทำให้มีอิสระ อยากทำอะไรเอง ดังนั้นพฤติกรรม ไม่เอา ไม่ทำ เกิดขึ้นแทบจะทุกวัน เช่น ไม่ยอมให้พ่อแม่ป้อน จะกินเอง จะทำอะไรเองทุกอย่าง เมื่อพ่อแม่ไม่ยอมก็เกิดพฤติกรรมร้องดิ้น อาละวาด นั่นเอง

“หยุดไม่อยู่! อยากได้ อยากทำ” (Impulse control)

ส่วนใหญ่เมื่อถึงวัย 3 ปี เด็กสามารถคุมตนเองได้ระดับหนึ่ง เพราะสามารถรอได้บ้าง หากเคยมีประสบการณ์ว่าบางครั้งต้องรอถึงจะได้รางวัล ซึ่งความสามารถในการคุมตนเองนำไปสู่ การช่วยเหลือตนเองและการฝึกขับถ่าย โดยจะสำเร็จได้ก็ต่อเมื่อ เด็กลุกนั่งได้คล่องแคล่วและเต็มใจที่จะเข้าห้องน้ำ ส่วนใหญ่กว่าจะทำได้จริงจังก็อายุ 3 ขวบไปแล้ว ส่วนการถอดผ้าอ้อมสำเร็จรูปได้ เด็กส่วนใหญ่มักทำได้ที่อายุ 2.5 ปี

“ความผูกพันแน่นแฟ้นขึ้น” (Attachment)

ความผูกพันที่สร้างขึ้นระหว่างเด็กกับผู้เลี้ยงดูยังสำคัญ การมีความผูกพันมั่นคง เป็นเรื่องที่จำเป็นต่อพัฒนาการด้านอารมณ์และสังคมของเด็กเมื่อโตขึ้น แม้ดูเหมือนเด็กต้องการอิสระและปฏิเสธความช่วยเหลือจากพ่อแม่ แต่เด็กก็ยังต้องการให้พ่อแม่อยู่ใกล้ๆ ถ้าเขาไม่เห็นก็จะหงุดหงิดได้

“หนูเป็นคนแบบนี้” (Temperament)

การที่เด็กมีปฏิกิริยาต่อสิ่งที่เผชิญอย่างไร เรียกว่า พื้นอารมณ์ โดยมีเรื่องของพันธุกรรมมาเกี่ยวข้องบางส่วน Chess and Thomas ได้ติดตามเด็กจำนวนมากกว่า 100 คนและพบ 9 ลักษณะของพื้นอารมณ์ ได้แก่ การปรับตัว, ความ active, อารมณ์, สมาธิ ฯลฯ ได้แบ่งเด็กออกเป็น 4 กลุ่มใหญ่ คือ เด็กเลี้ยงง่าย(40%) เลี้ยงยาก(10%) แบบผสม และ แบบปรับตัวช้า (15%) ปัญหาการเลี้ยงดู มักเกิดจากการที่ มีความไม่ลงตัวระหว่างพื้นอารมณ์ของเด็ก กับความคาดหวังและบุคลิกภาพของผู้ปกครอง ซึ่งพ่อแม่ไม่ควรคิดว่าเป็นจากการเลี้ยงที่ไม่ดีเพราะพื้นอารมณ์เป็นเรื่องที่ม

เลี้ยงลูกให้ เก่ง ดี มีสุข ไปกับเรา คลิกติดตามที่

 

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up