หย่านมแม่

หย่านมแม่ เมื่อไหร่? ยังไงดี?

Alternative Textaccount_circle
event
หย่านมแม่
หย่านมแม่
ไม่ให้ลูกดูดเต้า
ผลข้างเคียงจากการหย่านม

ผลข้างเคียงจากการหย่านม

การให้นมแม่มีความสำคัญกับลูกน้อยมากกว่าสิ่งอื่น คุณแม่ควรให้นมลูกน้อยไปจนกว่าลูกต้องการจะหย่านมด้วยตัวเอง การหย่านมไม่ได้หมายความว่า ห้ามกินนมแม่ทั้งหมด เพราะจะส่งผลกับเด็ก เช่น

1.เด็กบางคนอาจต่อต้านการหย่านมในเวลากลางวัน หรือกลางคืน อาจจะให้ลูกดูดนมบ้าง หรือเบี่ยงเบนความสนใจ

2.อย่าหย่านมลูกน้อยเร็วเกินไป เพราะจะทำให้พัฒนาการถดถอย เช่น ติดอ่าง ตื่นกลางดึก เกาะติดแม่มากขึ้นในตอนกลางวัน ติดสิ่งของมากขึ้น เช่น ผ้าห่ม กลัวการแยกจากแม่มากขึ้น ชอบกัดสิ่งของ

3.มีอาการเจ็บป่วยทางร่างกาย เช่น แสดงอาการปวดท้อง ท้องอืด ท้องผูก

ถ้าลูกน้อยมีอาการข้างเคียงเหล่านี้ ควรเลื่อนการหย่านมออกไปก่อน จนกว่าอาการจะหายไป แล้วค่อยๆ หย่านมด้วยวิธีที่ทำให้ลูกน้อยรู้สึกดีขึ้น และตอบสนองความต้องการของลูกน้อยอย่างใกล้ชิด

banner300x250เครดิต: รศ.กรรณิการ์ วิจิตรสุคนธ์ มูลนิธิศูนย์นมแม่แห่งประเทศไทย

อ่านเพิ่มเติม คลิก!!

ตั้งครรภ์ลูกคนที่สอง หย่านมลูกคนโตดีไหม?

เมื่อคุณแม่นักปั้มคิดจะแขวนเต้า ก็ต้องเจอเรื่องดราม่าจากลูก!

เลิกนมมื้อดึก และฝึกหลับยาว สำหรับลูกน้อยวัยเด็กเล็ก

Save

Save

เรื่องที่คนอ่านมากสุด

keyboard_arrow_up